วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558

ประวัติหนังสือพิมพ์ไทย




















หนังสือพิมพ์
                ประวัติและพัฒนาการของสื่อสารมวลชนไทยในส่วนนี้ จะแบ่งตามประเภทของสื่อ 
ประเภทได้แก่ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ วิทยุกระจายเสีย วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต โดยแต่ละสื่อจะครอบคลุมถึงประวีติและพัฒนาการในด้านเทคโนโลยี เนื้อหาสาระ และกิจการ ของสื่อประเภทดังกล่าว
หนังสือพิมพ์
                วิวัฒนาการของหนังสือพิมพ์ไทยเติบโตไปตามภาวะความเปลี่ยนแปลงชองสภาพสังคมประกอบกับหนังสือพิมพ์เป็นสื่อที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานปรัชญาของการต่อสู้ทางอุดมการณ์หนังสือพิมพ์เป็นเสมือนกลไกหรือเครื่องมือสำคัญ ที่มีส่วนผลักดันเปลี่ยนแปลงสภาพการเมืองการปกครองและสังคมของไทยเสอมมาการศึกษาวิวัฒนาการของหนังสือพิมพ์ไทยในแต่ละยุค จึงจะเป็นต้องพิจารฯบริบทต่างๆที่แวดล้อมหนังสือพิมพ์ในแต่ละยุคควบคู่ไปด้วย บริบทเหล่านี้ได้แก่ บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรม และอุดมการณ์ความคิดทางวิชาชีพหนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์จัดเป็นสื่อที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยเมื่อเปรียบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่นหนังสือพิมพ์ในไทยเกิดขึ้นภายหลังจากที่มีการนำตัวพิมพ์และแท่นพิมพ์เข้ามาในเมืองไทย ตั้งแต่สมัยพระนารายณ์มหาราชและพัฒนาเรื่อยมาเป็นสื่อหนังสือพิมพ์ การสำเสนอประวัติและพัฒนาการหนังสือพิมพ์ไทย จะแบ่งออกเป็น ยุด โดยในช่วงแรกเป็นยุคที่อยู่ในระบบการปกครองแบบสมบูรฯญาสิทธิราชย์ (ยุค 1-4) และในช่วงหนังเป็นยุคการปกครองในระบอบรัฐสภาภายใต้รัฐธรรมนูญตั้งแต่ พ.ศ. 475 เป็นต้นมา
ยุคหนังสือพิมพ์ฝรั่ง
                
เริ่มตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ ถึงกลางสมัยรัชกาลที่ เป็นสมัยที่คณะมิชชันนารีฝรั่งริเริ่มอ่านหนังสือพิมพ์โดยมีหมอบรัดเลย์เป็นผู้บุกเบิก ก่อนหน้าที่หมอบรัดเลย์จะออกหนังสือพิมพ์ได้รับพิมพ์ประกาศของทางราชการ จนกระทั้งหมอบรัดเลย์เห็นว่ามีความพร้อม จึงออกหนังสือพิมพ์ฉบับแรกในวันที่ กรกฎาคม พ.ศ. 2387 ชื่อหนังสือพิมพ์ บางกอกรีคอร์เดอร์ ซึ่งคนไทยพากันเรียนกว่า จดหมายเหตุอย่างสั้น เพราะลงตีพิมพ์ข่าวและประกาศต่างๆจัดได้ว่าเป็นหนังสือพิมพ์ข่าวรายปักษ์เล่มแรกของประเทศไทย อย่างไรก็ตามบางกอกรีคอร์เดอร์มีอายุอยู่เพียง ปี ก็ต้องปิดกิจการเพราะขาดทุน เนื่องจากคนไทยยังไม่รู้จักหนังสือพิมพ์ และขุนนางไทยสมัยนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2407 หมอบรัดเลย์ได้ออกหนังสือพิมพ์ใหม่เป็นครั้งที่สองเป็นฉบับโดยใช้ชื่อว่าบางกอกรีคอร์เดอร์เช่นเดิม
                ถึงแม้ว่าบางกอกรีคอร์เดอร์เป็นเครื่องมือที่เติมความรู้ให้แก่ชนชั้นสูงเสียมากกว่ามวลชนแต้เร่าต้องของการต่อต้านความอยุติธรรม การรายงานเหตุการณ์ต่างๆให้ทราบถึงพระเนตรเนื่องจากหมอบรัดเลย์ได้กล้าเสนอในสิ่งที่คนไทยสมัยนั้นไม่เสนอจึงหมิ่นเหม่ต่อคดีอาญารับกาลที่ 4 ได้ออกประกาศไม่ให้เชื่อหนังสือพิมพ์ เพราะเห็นว่าบางครั้งหนังสือพิมพ์ของฝรั่งก็เกินจริงเป็นเครื่องมือใส่ร้ายป้ายสีคนอื่นในที่สุดหมอบรัดเลย์ก็ต้องเลิกออกหนังสือพิมพ์จากการพิมพ์เนื่องจากแพ้คดีความที่ถูกทูตชาวฝรั่งเศสฟ้องร้องทำให้กิจการขาดทุนจึงเลิกกิจการทั้งหมดนอกจากหนังสือพิมพ์บางกอกรีคอร์เดอร์แล้วยังมีหนังสือพิมพ์ที่ออกมาในช่วงนี้แต่ไม่มีความสำคัญมากนักหนังสือพิมพ์เหล่านี้ได้แก่ บางกอกคาร์เลนดาร์ ของหมอจันทเล บางกอกเดลี ของหมอสมิธผยุคหนังสือพิมพ์ราชสำนัก
                การทำหนังสือพิมพ์ในราชสำนักเริ่มขึ้นในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงปลายรัชกาลที่ กลุ่มหนึ่งที่มีการศึกษาจากต่างประเทศมีความเห็นว่าถ้าให้ฝรั่งออกหนังสือพิมพ์แต่ฝ่ายเดียวย่อมเป็นภัย จึงได้ออกหนังสือ ราชกิจจานุเบกษา ในปี พ.ศ. 2401 มีกำหนดออกเป็นครั้งคราวมีประสงค์เพื่อแจ้งประกาศของราชการ กฎหมายข้อบังคับ แจ้งความเตือนสติ และชี้แจงข่าวคลาดที่ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ของหมอบรัดเลย์ นับได้วาเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกที่ออกโดยคนไทยราชกิจจานุเบกษาที่ออกในปลายสมัยรัชการที่ 4 ออกได้เพียงปีเดียวก็เลิกไป และมาออกอีกครั้งหนึ่งในรัชการที่ ในปี พ.ศ. 2517 ในปีพ.ศ. 2418 ได้มีการออกหนังสือ ค็อต ข่าวราชการ เป็นหนังสือพิมพ์รายวันมีจำนวนหน้า หน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข่าวราชการ และข่าวความเคลื่อนไหวในราชสำนักรายงานข่าวกำหนดการต่างๆที่ควรจะบอกล่วงหน้า บุคคลในข่าวมักเป็นพระบรมวงศานุวศ์และข้าราชการเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีหนังสือวชิรญาณและ วชิรญาณวิเศษ ในปี พ.ศ. 2427 เป็นหนังสือพิมพ์รายเดือน เน้นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และเรื่องอ่านเล่น
                เนื่องจากการพิมพ์หนังสืออยู่ในอิทธิพลของราชสำนักและจัดทำโดยเจ้านาย เนื้อหาส่วนใหญ่ของหนังสือพิมพ์ในยุคนี้จึงเป็นเรื่องทางราชการ และอ่านกันเฉพาะในหมู่คนจำนวนน้อย ไม่หวังผลทางการค้าเพราะอยู่ได้ด้วยการนสนับสนุนจาราชสำนัก
ยุคหัวเลี้ยวหัวต่อจากราชสำนักสู่สามัญชน
                ช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 5 เริ่มมีสามัญชนออกหนังสือพิมพ์ เช่น ก.ศ.ร.กุหลาบ และเทียนวรรณ ก.ศ.ร.กุหลาบ เป็นสามัญชนธรรมดาที่ไม่มียศ ไม่ศักดิ์ได้ออกหนังสือพมิพ์ชื่อ สยามประเภทสุนทโรวาทพิเศษ ในปี พ.ศ .2440 แม้ว่าหนังสือพิมพ์ของสามัยชนต้องแข่งขันกับหนังสือพิมพ์ของเจ้านาย และเสี่ยงต่อการขาดทุนเพราะโฆษฯยังไม่แพร่หลาย แต่กลับได้รับความนิยมจากคนอื่นมาก


แหล่งที่มา https://www.l3nr.org/posts/199024

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น